อำนาจหน้าที่ อบต.

26 ต.ค. 61

อำนาจหน้าที่ อบต.

อํานาจหน้าที่ขององคการบริหารสวนตําบล

มาตรา ๖๖ องคการบริหารสวนตําบลมีอํานาจหนาที่ในการพัฒนาตําบลทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

มาตรา ๖๗ ภายใตบังคับแหงกฎหมาย องคการบริหารสวนตําบล มีหนาที่ตองทําในเขตองคการบริหารสวนตําบล ดังตอไปนี้
(๑) จัดใหมีและบํารุงรักษาทางน้ำและทางบก
(๒) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกําจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
(๓) ปองกันโรคและระงับโรคติดตอ
(๔) ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
(๕) สงเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(๖) สงเสริมการพัฒนาสตรีเด็ก เยาวชน ผูสูงอายุและผูพิการ
(๗) คุมครอง ดูแล และบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
〖(๘)〗^๕๑ บํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณีภูมิปญญาทองถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น
〖(๙)〗^๕๒ ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรือ บุคลากรใหตามความจําเปน และสมควร

มาตรา ๖๘ ภายใตบังคับแหงกฎหมาย องคการบริหารสวนตําบลอาจจัดทํา กิจการในเขตองคการบริหารสวนตําบล ดังตอไปนี้
(๑) ใหมีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร
(๒) ใหมีและบํารุงการไฟฟาหรือแสงสวางโดยวิธีอื่น
(๓) ใหมีและบํารุงรักษาทางระบายน้ำ
(๔) ใหมีและบํารุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผอนหยอนใจและ สวนสาธารณะ
(๕) ใหมีและสงเสริมกลุมเกษตรกรและกิจการสหกรณ
(๖) สงเสริมใหมีอุตสาหกรรมในครอบครัว
(๗) บํารุงและสงเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร
(๘) การคุมครองดูแลและรักษาทรัพยสินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
(๙) หาผลประโยชนจากทรัพยสินขององคการบริหารสวนตําบล
(๑๐) ใหมีตลาด ทาเทียบเรือ และทาขาม
(๑๑) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย
〖(๑๒)〗^๕๓ การทองเที่ยว
〖(๑๓)〗^๕๔ การผังเมือง

มาตรา ๖๙ อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนตําบลตามมาตรา ๖๖ มาตรา ๖๗ และมาตรา ๖๘ นั้น ไมเปนการตัดอํานาจหนาที่ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองคการหรือ หนวยงานของรัฐ ในอันที่จะดําเนินกิจการใด ๆ เพื่อประโยชนของประชาชนในตําบล แตตองแจง ใหองคการบริหารสวนตําบลทราบลวงหนาตามสมควรในกรณีนี้ หากองคการบริหารสวนตําบลมีความเห็นเกี่ยวกับการดําเนินกิจการดังกลาว ใหกระทรวง ทบวง กรม หรือองคการ หรือหนวยงานของรัฐ นําความเห็นขององคการบริหารสวนตําบลไปประกอบการพิจารณาดําเนินกิจการนั้นดวย

มาตรา ๖๙/๑^๕๕ การปฏิบัติงานตามอํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนตําบล ตองเปนไปเพื่อประโยชนสุขของประชาชน โดยใชวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีและให คํานึงถึงการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทําแผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล การจัดทํา งบประมาณ การจัดซื้อจัดจาง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเปดเผย ขอมูลขาวสาร ทั้งนี้ใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับวาดวยการนั้น และหลักเกณฑและ วิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด

มาตรา ๗๐ เพื่อประโยชนในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ใหองคการ บริหารสวนตําบลมีสิทธิไดรับทราบขอมูลและขาวสารจากทางราชการในเรื่องที่เกี่ยวกับการดําเนิน กิจการของทางราชการในตําบล เวนแตขอมูลหรือ ขาวสารที่ทางราชการถือวาเปนความลับเกี่ยวกับ การรักษาความมั่นคงแหงชาติ

มาตรา 〖๗๑〗^๕๖ องคการบริหารสวนตําบลอาจออกขอบัญญัติองคการบริหารสวน ตําบลเพื่อใชบังคับในเขตองคการบริหารสวนตําบลไดเทาที่ไมขัดหรือแยงตอ กฎหมายเพื่อ ปฏิบัติการใหเปนไปตามอํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนตําบล หรือเมื่อมีกฎหมายบัญญัติให องคการบริหารสวนตําบลออกขอบัญญัติหรือใหมีอํานาจออกขอบัญญัติในการนี้จะกําหนด คาธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกําหนดโทษปรับผูฝาฝนดวยก็ไดแตมิใหกําหนดโทษปรับเกิน หนึ่งพันบาท เวนแตจะมีกฎหมายบัญญัติไวเปนอยางอื่น
รางขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลจะเสนอไดก็แตโดยนายกองคการบริหาร สวนตําบลหรือสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หรือราษฎรในเขตองคการบริหารสวนตําบล ตามกฎหมายวาดวยการเขาชื่อเสนอขอบัญญัติทองถิ่น เมื่อสภาองคการบริหารสวนตําบลและนายอําเภอใหความเห็นชอบรางขอบัญญัติ องคการบริหารสวนตําบลตามวรรคหนึ่งแลว ใหนายกองคการบริหารสวนตําบลลงชื่อและประกาศ เปนขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลตอไป ในกรณีที่นายอําเภอไมเห็นชอบดวยกับรางขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบล ใด ใหสงคืนสภาองคการบริหาร สวนตําบลภายในสิบหาวันนับแตวันที่นายอําเภอไดรับราง ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลดังกลาวเพื่อใหสภาองคการบริหารสวนตําบลพิจารณาทบทวน รางขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลนั้นใหม หากนายอําเภอไมสงราง ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลคืนสภาองคการบริหารสวนตําบลภายในสิบหาวันนับแตวันที่นายอําเภอไดรับราง ขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลดังกลาว ใหถือวานายอําเภอเห็นชอบกับรางขอบัญญัติ องคการบริหารสวนตําบลนั้น
เมื่อสภาองคการบริหารสวนตําบลพิจารณาทบทวนรางขอบัญญัติองคการบริหาร สวนตําบลตามวรรคสี่แลว มีมติยืนยันตามรางขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลเดิมดวย คะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจํานวนสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลทั้งหมดเทาที่มีอยู ใหนายกองคการบริหารสวนตําบลลงชื่อและประกาศเปนขอบัญญัติองคการบริหารสวน ตําบลไดโดยไมตองขอความเห็นชอบจากนายอําเภอ แตถาสภาองคการบริหารสวนตําบลไมยืนยัน ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับรางขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลคืนจากนายอําเภอหรือ ยืนยันดวยคะแนนเสียงนอย กวาสองในสามของจํานวนสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ทั้งหมดเทาที่มีอยูใหรางขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลนั้นเปนอันตกไป

มาตรา 〖๗๒〗^๕๗ องค์การบริหารงานบุคคลขององคการบริหารสวนตําบลใหเปนไปตาม กฎหมายวาดวยการนั้นเพื่อประโยชนแกกิจการขององคการบริหารสวนตําบล องคการบริหารสวนตําบล อาจขอใหขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของสวนราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น ไปดํารงตําแหนงหรือปฏิบัติกิจการขององคการบริหารสวน ตําบลเปนการชั่วคราวไดโดยไมขาดจากตนสังกัดเดิม ทั้งนี้ใหผูวาราชการจังหวัดเปนผูมีอํานาจ อนุญาตไดตามความจําเปน และในกรณีที่เปนขาราชการซึ่งไมอยูในอํานาจของผูวาราชการจังหวัดใหกระทรวงมหาดไทยทําความตกลงกับหนวยงานตนสังกัดกอนแตงตั้ง

มาตรา 73 องคการบริหารสวนตําบลอาจทํากิจการนอกเขตองค์การบริหารส่วนตำบลตําบล หรือรวมกับสภาตําบล องคการบริหารสวนตําบล องคการบริหารสวนจังหวัด หรือหนวย การบริหารราชการสวน ทองถิ่นอื่น เพื่อกระทํากิจการรวมกันไดทั้งนี้เมื่อไดรับความยินยอมจาก สภาตําบล องคการบริหารสวนตําบล องคการบริหารสวนจังหวัด หรือหนวยการบริหารราชการ สวนทองถิ่นที่เกี่ยวของ และกิจการนั้นเปนกิจการที่จําเปนตองทําและเปนการเกี่ยวเนื่องกับกิจการ ที่อยูในอํานาจหนาที่ของตน